Skip to main content

รวมลิงก์ภายในของสสส.

  • เว็บหลัก สสส.
  • ศูนย์ข้อมูล สสส.
  • ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
เข้าสู่ระบบ
Resource Center ศูนย์บริการข้อมูล สสส. logo
แหล่งที่มา
x ทั้งหมด แหล่งข้อมูลสสส
  • ศูนย์ข้อมูล สสส
  • BLib
แหล่งข้อมูลอื่นๆ
  • Happy Workplace
  • ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน
  • ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ
  • ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา
  • ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน
  • แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
  • หน่วยเฝ้าระวังและสะท้อนสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนน
  • มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง
  • แผนงานพัฒนาวิชาการและกลไกคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
  • มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
  • ปันสุข
  • แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต
  • แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
  • นสธ.-นโยบายสาธารณะ
  • ศูนย์พิเศษ สสส.
  • ชุมชนเพื่อคนทำงานท้องในวัยรุ่นประเทศไทย
  • ออกมาเล่น
  • มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย(มส.ผส.)
  • มูลนิธิสร้างสุขมุสลิมไทย(สสม.) เพื่อมุสลิมไทยเปี่ยมสุข
  • ศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ
  • หน้าแรก
  • บทความ / งานวิจัย
  • ชุดความรู้ / ชุดนิทรรศการ
  • สื่อ
  • บริการ
  • เกี่ยวกับเรา
หน้าแรก » » » โรคอ้วนลงพุง

โรคอ้วนลงพุง

เรียงตาม:
video
เรื่องเกือบสยองขวัญของคนมีพุง
เรื่องสยองขวัญที่คนลดความอ้วนทุกคนต้องเจอ! เคล็ดลับพิชิตพุง 1. เพิ่มกิจกรรมทางกาย เพราะไขมันจะสลายเต็มที่ เมื่อออกกำลังกายต่อเนื่อง 10 นาทีขึ้นไป เพื่อสุขภาพที่ดีควรออกกำลังกายอย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์ 2. กินแบบ 2:1:1 ซึ่งเป็นแนวคิดการกำหนดปริมาณอาหารที่เหมาะสม โดยการกะด้วยสายตา แบ่งสัดส่วนจานเป็นผัก 2 ส่วน ข้าว 1 ส่วน เนื้อสัตว์ 1 ส่วน
อ่านต่อ...
video
ทัวร์อวัยวะปี2 ตอนพฤติกรรมนิ่งเฉย อยู่เฉยๆก็อันตรายแล้ว
พฤติกรรมนิ่งเฉย อันส่งผลให้ร่างกายมีอัตราการเผาผลาญต่ำและเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่เรียกกันว่า พฤติกรรมนิ่งเฉย ซึ่งคนไทยมีพฤติกรรมนิ่งเฉยถึง 13 ชั่วโมงต่อวัน แต่เราสามารถหลีกเลี่ยงจากโรคต่าง ๆ ได้ โดยการขยับร่างกายมากขึ้น ซึ่งจะลดโอกาสเสี่ยงจากโรคต่างๆ
อ่านต่อ...
video
ทัวร์อวัยวะ โรคอ้วนลงพุง
1 ใน 3 ของคนไทย อ้วนลงพุง โรคอ้วนลงพุงเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคไม่­ติดต่อเรื่อรัง หรือโรค NCDs มากมาย อ้วนลงพุงคือภาวะที่ไขมันสะสมในช่องท้อง หรืออวัยวะในช่องท้องมากเกินไป จนทำให้หน้าท้องยื่นออกมาชัดเจน แม้น้ำหนักตัวจะอยู่ในเกณฑ์ปกติ ก็ไม่ได้หมายความว่าคุณจะไม่อ้วนลงพุง แล้วตอนนี้คุณอ้วนลงพุงอยู่หรือเปล่า
อ่านต่อ...
document
คู่มือ แนวทางการดูแลผู้ที่น้ำหนักเกินและอ้วน
อ้วนหรืออ้วนลงพุงเป็นปัญหาของประชากรทั่วโลก จำนวนคนไทยที่มีน้ำหนักตัวมากเกิน อ้วน และอ้วนลงพุงเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ พบได้ในทุกเพศและทุกวัย ยิ่งไปกว่านั้นอ้วนหรืออ้วนลงพุงเป็นต้นเหตุของการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ มากมาย การปรับพฤติกรรมประจำวันเพื่อลดน้ำหนักอาจทำให้โรคทุเลาลง ควบคุมได้ง่ายขึ้น หรือกลับเป็นปกติได้ ทำให้มีสุขภาพดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
อ่านต่อ...
document
คู่มือลดพุงลดโรค
ด้วยวิถีชีวิตที่เร่งรีบ พฤติกรรมที่เน้นการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม เพิ่มขึ้น แต่กินผัก กอนผลไม้ลดลง รวมทั้งการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอล้วนส่งผลต่อสุขภาพและเพิ่มความเสี่ยงให้กับโรคอ้วนลงพุงมากขึ้น
อ่านต่อ...
document
จดหมายข่าวชุมชนคนรักสุขภาพ ฉบับสร้างสุข ปีที่ 9 ฉบับที่ 139 พฤษภาคม 2556 :
จดหมายข่าวชุมชนคนรักสุขภาพ ฉบับสร้างสุข ปีที่ 9 ฉบับที่ 139 พฤษภาคม 2556 : ถึงเวลาวัดพุง
อ่านต่อ...
document
อ้วนและอ้วนลงพุง
ในปัจจุบันปัจจัยที่่ส่งผลทำให้เกิดโรคอ้วนและอ้วนลงพุงมีหลากหลายดังนั้นการจัดการปัญหาจำเป็นต้องมีนโยบายและยุทธศาตร์ให้ครอบคลุมเพื่อการบรรลุเป้าหมาย โดยการรณรงค์ให้สังคมไทยตระหนักถึงปัญหาโรคอ้วนและอ้วนลงพุง ให้รับรู้และเข้าใจ ป้องกันด้วยหลัก 3 อ. คือ อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์
อ่านต่อ...
document
สมุดสุขภาพประจำตัวสำหรับชุมชน กทม. ไร้พุง
สมุดสุขภาพประจำตัวสำหรับชุมชน กทม.ไร้พุง ใช้เป็นสมุดบันทึกประจำตัว และเป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตต่างๆ ของ กทม. ให้มีน้ำหนักอยู่เกณฑ์ปกติตามวัยตามหลักการ 3 อ.
อ่านต่อ...
document
พิชิตอ้วน พิชิตพุง
โรคอ้วนลงพุงจะเพิ่มโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน โรคหัวใจ อัมพฤกษ์และอัมพาต ภาวะอ้วนลงพุง คือ ผู้หญิงที่มีรอบเอว ตั้งแต่ 80 เซนติเมตร ขึ้นไป ผู้ชายที่มีรอบเอว ตั้งแต่ 90 เซนติเมตร ขึ้นไป
อ่านต่อ...
document
พิชิตอ้วน พิชิตพุง คนไทยไร้พุง
คู่มือเล่มนี้เน้นเรื่อง หลักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหาร และการออกกำลังกาย โดยเฉพาะหลักการกินอาหารเพื่อควบคุมพลังงาน และลดน้ำหนักเพื่อนำไปสู่การพิชิตอ้วน พิชิตพุง และส่งเสริมให้คนไทยไร้พุง
อ่านต่อ...
  • 1
  • 2
  • ›
  • »

หนังสือเด่นประจำสัปดาห์

ชีวิตติดฝุ่นอันตราย
ปัญหามลภาวะอากาศในปัจจุบันเกิดจากมนุษย์ละเลยที่จะใส่ใจสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก และยิ่งเม็ดฝุ่นในหมอกควันมีขนาดเล็กเท่าไรก็ยิ่งอันตรายโดยฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 10...
อ่านต่อ »

สมัครสมาชิก ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ

เลือกดูรายการ

  • หนังสือ
  • วารสาร
  • รูปภาพ
  • เว็บไซต์
  • วิดีโอ
  • เสียง
  • ชุดความรู้

หมวดหมู่

สุรา
ยาสูบ
อุบัติเหตุ
การออกกำลังกาย
โรคภัยไข้เจ็บ
อาหารการกิน
สุขภาพจิต
ระบบสาธารณสุข
สุขภาพร่างกาย
สภาพแวดล้อม
สุขภาวะเด็กและเยาวชน
สุขภาวะครอบครัว
สุขภาวะคนวัยทำงาน
สุขภาวะผู้สูงวัย
สุขภาวะชุมชนและสังคม
อื่นๆ

บริการ

  • ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ
  • บริการยืม - คืน
  • บริการคอมพิวเตอร์สำหรับสืบค้น พร้อมอินเตอร์เน็ตและสัญญาณ WIFI
  • บริการพื้นที่นั่งทำงาน อ่านหนังสือ
  • บริการช่วยค้นคว้า​
  • บริการชุดกระเป๋าความรู้สุขภาวะ
  • บริการออนไลน์
  • บริการเผยแพร่สื่อของ สสส.

ข้อมูลเพิ่มเติม

ชุดนิทรรศการ

knowledges
“เหล้าอยากเล่า”
เมื่อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อยากบอกเล่า ถึงความจริง อันตราย และโทษภัยที่ถูกมองข้ามและละเลยไป ผ่านชุดเกมคำถามและสื่อการเรียนรู้ต่างๆ สื่อชุดนี้เหมาะกับครูหรือผู้ปกครองนำไปใช้เป็นเครื่องมือประกอบการเรียนการสอนแก่เด็กและเยาวชนในการรับมือกับ “เครื่องดื่มแอลกอฮอล์” ที่อยู่รอบตัว
more

เมนูหลัก

  • หน้าแรก
  • บทความ / งานวิจัย
  • ชุดความรู้ / ชุดนิทรรศการ
  • สื่อ
  • บริการ
  • เกี่ยวกับเรา

ติดต่อเรา

Resource Center

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ห้องสร้างปัญญา อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
เลขที่ 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120


โทรศัพท์ : 02-343-1500 กด 3 | โทรสาร : 02-343-1501
อีเมล : resource.thc@thaihealth.or.th

Creative Commons License งานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผู้สร้าง อนุญาตให้ทำซ้ำ แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่ง ของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีที่ให้เครดิต ผู้สร้าง ไม่นำไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เท่านั้น
Syndicate content