Skip to main content

รวมลิงก์ภายในของสสส.

  • เว็บหลัก สสส.
  • ศูนย์ข้อมูล สสส.
  • ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
เข้าสู่ระบบ
Resource Center ศูนย์บริการข้อมูล สสส. logo
แหล่งที่มา
x ทั้งหมด แหล่งข้อมูลสสส
  • ศูนย์ข้อมูล สสส
  • BLib
แหล่งข้อมูลอื่นๆ
  • Happy Workplace
  • ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน
  • ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ
  • ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา
  • ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน
  • แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
  • หน่วยเฝ้าระวังและสะท้อนสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนน
  • มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง
  • แผนงานพัฒนาวิชาการและกลไกคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
  • มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
  • แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต
  • แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
  • นสธ.-นโยบายสาธารณะ
  • ศูนย์พิเศษ สสส.
  • ชุมชนเพื่อคนทำงานท้องในวัยรุ่นประเทศไทย
  • ออกมาเล่น
  • มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย(มส.ผส.)
  • มูลนิธิสร้างสุขมุสลิมไทย(สสม.) เพื่อมุสลิมไทยเปี่ยมสุข
  • ศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ
  • หน้าแรก
  • บทความ / งานวิจัย
  • ชุดความรู้ / ชุดนิทรรศการ
  • สื่อ
  • บริการ
  • เกี่ยวกับเรา
หน้าแรก » » » อาหารการกิน

อาหารการกิน

เรียงตาม:
document
อยากสุขภาพดี ต้องมี 3 อ. สำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์และให้นมบุตร
สุขภาพดี เป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนาที่จะมี แต่ทำไมบางคนมี บางคนไม่มี ปัจจัยสำคัญต่อการมีสุขภาพดีอยู่ที่พฤติกรรมการใช้ชีวิตอยู่ 3 เรื่อง คือ อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์ หรือเรียกย่อๆ ว่า 3 อ. ซึ่งเป็นคำตอบที่เราต้องช่วยกันหาคำตอบในการมีสุขภาพที่ดี
อ่านต่อ...
document
รายงานประจำปี 2557 แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการ
แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนา เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ FHP เป็นการส่งเสริมภาวะโภชนาการเพื่อป้องกันโรคอ้วนและโรค NCDs อาหารปลอดภัย และความมั่นคงทางอาหาร เพื่อสร้างความเข้มแข็งและสนับนุนกระบวนการนโยบายการสร้างเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ดีต่อสุขภาพในประเทศไทย
อ่านต่อ...
document
รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย
อาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ การได้รับอาหารที่ไม่เหมาะสม ทั้งประเภทและปริมาณ ย่อมมีผลกระทบต่อสุขภาพอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แนวโน้มการบริโภคอาหารของประชากรไทย ยังมีส่วนที่ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ดีต่อสุขภาพ
อ่านต่อ...
document
เผ็ดร้อนเป็นยา
รู้ไหมว่าโรคฮิตอย่างโรคเบาหวาน โรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง ทั้งหมดล้วนมีสาเหตุใหญ่มาจากการบริโภคที่ผิดหลักโภชนาการเช่นที่เรานิยมทานอาหารฟาสต์ฟู้ดหรืออาหารฝรั่ง ซึ่งมีรสหวานมันและเต็มไปด้วยแป้งและไขมัน ทั้งที่จริงแล้ว อาหารไทยและรสชาติแบบไทยถูกออกแบบมาให้เหมาะสมกับคนไทยเราอยู่แล้ว
อ่านต่อ...
document
คู่มือดำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ
คู่มือดำเนินงานขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ เป็นการขับเคลื่อนงานการเกษตรกรรมยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะ นำไปสู่การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน
อ่านต่อ...
document
อาหารตักบาตร อาจก่อปัญหาที่คุณไม่รู้
ในการทำบุญใส่บาตรและถวายอาหารแด่พระสงฆ์นั้น เรามักนำอาหารที่คิดว่าดีที่สุดหรืออร่อยที่สุดมาถวายพระสงฆ์ แต่อาหารนั้นอาจแฝงผลร้ายต่อสุขภาพของท่านก็เป็นได้โดยเฉพาะพระสงฆ์ในเขตเมือง ซึ่งมักได้รับอาหารบิณฑบาตเป็นอาหารถุงหรืออาหารสำเร็จรูปที่บางครั้งอาจไม่สะอาดหรือถูกหลักโภชนาการ จนก่อเกิดปัญหาด้านสุขภาพและโรคเรื้อรังโดยความไม่รู้และไม่ตั้งใจของเรา
อ่านต่อ...
document
จินตนาการ อาหารและชุมชน
การศึกษาตัวชี้วัดความมั่นคงทางอาหาร เป็นผลงานจากการศึกษาของมูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน (ประเทศไทย) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ชุมชนต่างๆ ทั่วปะระเทศ มีความมั่นคงทางอาหารและสามารถพึ่งพาตนเองทางอาหารได้มากขึ้น
อ่านต่อ...
document
SOOK Magazine : No.1 DECEMBER 2012
การรวมธีมอาหารการกินที่เป็นเรื่องใกล้ตัวเรามากที่สุด โดยมีเซฟหมีและเชฟอิ๊กคนดังมาแนะนำการทำอาหารสุดประหยัด สำหรับทำทานเอง ให้ลองนึกถึงอาหารราคา 50 บาท, 30 บาท และ 20 บาท ว่าหน้าตาจะเป็นอย่างไร นอกจากนี้ยังมีข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติกรรมการกิน กินยังไงทำไมถึงอ้วน หรือกินอย่างไรให้มีความสนุกเพลิดเพลินกับการทานทุกวันให้สุขภาพดี
อ่านต่อ...
document
ความมั่นคงทางอาหาร : แนวคิดและตัวชี้วัด
หนังสือที่เป็นหนึ่งในวิธีการสร้างความมั่นคงทางอาหารแก่ประชาชนทุกกลุ่มวัย คือการพัฒนาตัวชี้วัดความมั่นคงทางอาหารที่เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย และจัดทำรายงานสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของประเทศอย่างน้อยทุก 3 ปี โดยการจัดทำมีเป้าหมายในการรวบรวมองค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาดัชนี นำไปสู่กระบวนการเก็บข้อมูลและพัฒนากรอบแนวคิดและดัชนีความมั่นคงทางอาหารจากฐานความเข้าใจและบริบทของชุมชนในพื้นที่ต่างๆ หนังสือจะมีประโยชน์ในภาพกว้างซึ่งจะทำให้เห็นถึงพลวัต แนวคิดความมั่นคงทางอาหารและแนวคิดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง รูปแบบดัชนี เครื่องมือที่ใช้ในการวัด หลักเกณฑ์บางประการที่ควรพิจารณา ฯลฯ
อ่านต่อ...
document
แนวทางการจัดกิจกรรม กินผัก ผลไม้ 5 ส่วน (5 กำมือ) ขึ้นไปทุกวัน Eat 5 a day
วิธีการทานผักและผลไม้ให้ได้ในอัตราส่วนที่เหมาะสม
อ่านต่อ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7

หนังสือเด่นประจำสัปดาห์

คู่มือประจำวัย รับมือยังไงกับวัย18
การรับมือของผู้ใหญ่ ที่จะรับมือกับวัยรุ่นในวัย 18 ปี หรือ generation z ที่เป็นช่วงวัยในการเปลี่ยนแปลงลองผิดลองถูกและเกิดกระบวนการเรียนรู้ที่สำคัญ...
อ่านต่อ »

สมัครสมาชิก ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ

เลือกดูรายการ

  • หนังสือ
  • วารสาร
  • รูปภาพ
  • เว็บไซต์
  • วิดีโอ
  • เสียง
  • ชุดความรู้

หมวดหมู่

สุรา
ยาสูบ
อุบัติเหตุ
การออกกำลังกาย
โรคภัยไข้เจ็บ
อาหารการกิน
สุขภาพจิต
ระบบสาธารณสุข
สุขภาพร่างกาย
สภาพแวดล้อม
สุขภาวะเด็กและเยาวชน
สุขภาวะครอบครัว
สุขภาวะคนวัยทำงาน
สุขภาวะผู้สูงวัย
สุขภาวะชุมชนและสังคม
อื่นๆ

บริการ

  • ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ
  • บริการยืม - คืน
  • บริการคอมพิวเตอร์สำหรับสืบค้น พร้อมอินเตอร์เน็ตและสัญญาณ WIFI
  • บริการพื้นที่นั่งทำงาน อ่านหนังสือ
  • บริการช่วยค้นคว้า​
  • บริการชุดกระเป๋าความรู้สุขภาวะ
  • บริการออนไลน์
  • บริการเผยแพร่สื่อของ สสส.

ข้อมูลเพิ่มเติม

ชุดนิทรรศการ

knowledges
" sex วัยรุ่นเลือกได้ "
สื่อการเรียนรู้ เพื่อเข้าถึงกลุ่มเยาวชน และเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยเปลี่ยนห้องเรียน ให้กลายเป็นนิทรรศการเพศศึกษาที่สนุกสนานถูกใจผู้เรียน และผู้สอน โดยสามารถช่วยกันออกแบบบทเรียนตามประเด็นปัญหา และบริบทของการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
more

เมนูหลัก

  • หน้าแรก
  • บทความ / งานวิจัย
  • ชุดความรู้ / ชุดนิทรรศการ
  • สื่อ
  • บริการ
  • เกี่ยวกับเรา

ติดต่อเรา

Resource Center

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ห้องสร้างปัญญา อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
เลขที่ 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120


โทรศัพท์ : 02-343-1500 กด 3 | โทรสาร : 02-343-1501
อีเมล : resource.thc@thaihealth.or.th

Creative Commons License งานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผู้สร้าง อนุญาตให้ทำซ้ำ แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่ง ของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีที่ให้เครดิต ผู้สร้าง ไม่นำไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เท่านั้น
Syndicate content