Skip to main content

รวมลิงก์ภายในของสสส.

  • เว็บหลัก สสส.
  • ศูนย์ข้อมูล สสส.
  • ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
เข้าสู่ระบบ
Resource Center ศูนย์บริการข้อมูล สสส. logo
แหล่งที่มา
x ทั้งหมด แหล่งข้อมูลสสส
  • ศูนย์ข้อมูล สสส
  • BLib
แหล่งข้อมูลอื่นๆ
  • Happy Workplace
  • ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน
  • ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ
  • ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา
  • ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน
  • แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
  • หน่วยเฝ้าระวังและสะท้อนสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนน
  • มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง
  • แผนงานพัฒนาวิชาการและกลไกคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
  • มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
  • แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต
  • แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
  • นสธ.-นโยบายสาธารณะ
  • ศูนย์พิเศษ สสส.
  • ชุมชนเพื่อคนทำงานท้องในวัยรุ่นประเทศไทย
  • ออกมาเล่น
  • มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย(มส.ผส.)
  • มูลนิธิสร้างสุขมุสลิมไทย(สสม.) เพื่อมุสลิมไทยเปี่ยมสุข
  • ศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ
  • หน้าแรก
  • บทความ / งานวิจัย
  • ชุดความรู้ / ชุดนิทรรศการ
  • สื่อ
  • บริการ
  • เกี่ยวกับเรา
หน้าแรก » » » Healthy land

Healthy land

เรียงตาม:
video
Healthy Land ตอนที่ 12 ปราชญ์ชาวบ้านที่ตะปอน
ครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ตำบลตะปอน เป็นการรวมตัวของชาวสวนใน ต.ตะปอน ซึ่งการประชุม พูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทำให้สามารถค้นพบต้นทุนทางปัญญาเล็กๆ ที่มีอยู่ในชุมชนนั่นก็คือ ปราชญ์ชาวบ้าน ในด้านต่างๆ มาร่วมเรียนรู้เรื่องราวจากปราชญ์ชาวบ้านตำบลตะปอน ไปพร้อมๆ กัน
อ่านต่อ...
video
Healthy Land ตอนที่ 11 สุขภาพดีสไตล์คนนากระตาม กองทุนหลักประกันสุขภาพ
ในสังคมเมืองสมัยใหม่ “เงิน” อาจเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างความสุขให้แก่ชีวิต แต่คนในสังคมชนบทอย่าง ต.นากระตาม อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร ต่างก็รู้ดีไม่ต่างจากคนเมืองว่าเงินเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญในชีวิต แต่พวกเขาคิดว่านั่นไม่ใช่ทั้งหมด สุขภาพดีอยากได้ต้องสร้างเอง เป็นอีกงานหนึ่งที่คนนากระตามเล็งเห็นถึงความสำคัญ
อ่านต่อ...
video
Healthy Land ตอนที่ 10 วิถีธรรมชาติบำบัดเพื่อชุมชน
ศูนย์เรียนรู้วิถีธรรมชาติเพื่อชุมชน ตั้งอยู่ใน ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา มีความตั้งใจที่จะส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อให้คนเราใช้ชีวิตสอดคล้องกับธรรมชาติ รวมถึงรู้เท่าทันปัจจัยที่ก่อให้เกิดผลกระทบกับชุมชน
อ่านต่อ...
video
Healthy Land ตอนที่ 9 การแพทย์วิถีมุสลิมโรงพยาบาลรามัน ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน
ปัจจุบัน 3 จังหวัดชายแดนใต้ ขึ้นป้ายติดอันดับความรุนแรงจากสถานการณ์ความไม่สงบ แต่โรงพยาบาลรามันที่ตั้งอยู่ใน จ.ยะลา หนึ่งในสามจังหวัดดังกล่าวก็ยืนหยัดเป็นที่พึ่งของคนป่วยไข้อย่างไม่ครั่นคร้าม ด้วยยึดหลักการเข้าใจ “สังคม วัฒนธรรม จิตวิญญาณ” ทำให้โรงพยาบาลแห่งนี้ เข้าถึงจิตวิญญาณของชาวมุสลิมได้อย่างไม่ยาก
อ่านต่อ...
video
Healthy Land ตอนที่ 8 ผักปลอดสารพิษที่ตลาดสีเขียว
ตลาดสีเขียวและโครงการขยะยิ้ม ต.ทมอ อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ เป็นการทำงานที่เกี่ยวข้องกับผู้ผลิตและผู้บริโภค เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ความปลอดภัยในการบริโภคอาหารซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญ และทำให้เกษตรกรมีความมั่นคงทางอาหาร และอยู่กับคนในครอบครัว มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีการอนุรักษ์ท้องถิ่น เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความมั่นคงและความยั่งยืนในวิถีชีวิตของเกษตรกร
อ่านต่อ...
video
Healthy Land ตอนที่ 7 สภากาแฟและคนต้นแบบที่ป่าซาง เทศบาลป่าซาง ต.ป่าซาง
สภากาแฟที่ ต.ป่าซาง อ.แม่จัน จ.เชียงราย เกิดขึ้นจากคนในชุมชนมารวมตัวกัน มาคุยกัน จิบกาแฟ และร่วมกันเสนอความคิดเพื่อแก้ไขปัญหาในชุมชน
อ่านต่อ...
video
Healthy Land ตอนที่ 6 น้ำพี้ – สุขแบบบูรณาการ
การสร้างตำบลสุขภาวะให้เกิดขึ้นกับชุมชน ในความเข้าใจของคนส่วนใหญ่อาจหมายถึงเรื่องใหญ่โตจะต้องใช้มันสมองของนักวิชาการ ของผู้ใหญ่ที่มีอำนาจในบ้านเมือง กระทั่งผู้กว้างขวางในชุมชน แต่สิ่งที่คน ต.น้ำพี้ กำลังพิสูจน์ให้เราเห็น คือ พวกเขาไม่เคยมองข้ามความสำคัญของเมล็ดพันธุ์เล็กๆ เมล็ดพันธุ์ที่จะเติบใหญ่เป็นไม้งามในอนาคต ที่จะแผ่กิ่งก้านสาขาให้กับชุมชนในวันที่รุ่นพ่อรุ่นแม่แก่ชราไปตามวัย
อ่านต่อ...
video
Healthy Land ตอนที่ 5 บัญชีครัวเรือนสู้ความยากจน
ที่บ้านยอดแกง อ.นามน จ.กาฬสินธุ์ จัดทำสมุดบัญชีครัวเรือน (รายรับ-รายจ่าย) สมุดเล่มเล็กๆ ที่เปลี่ยนชีวิตของคนในชุมชนบ้านยอดแกง ลองมาดูสิว่า...เพียงแค่สมุดเล่มเดียวนี้ได้เปลี่ยนวิถีชีวิตของพวกเขา..อย่างไร
อ่านต่อ...
video
Healthy Land ตอนที่ 4 คนสู้ชีวิตแห่งตำบลโพนทอง กองทุนหลักประกันสุขภาพ
คนพิการที่ไหนคงไม่ต่างกัน จะต่างกันก็ตรงที่คนรอบข้างของพวกเขาเหล่านั้นมีชีวิตอยู่ร่วมกับพวกเขาอย่างไร คนพิการที่สู้ชีวิตมีกำลังใจในการดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยน้ำใจจากคนรอบข้างที่หยิบยื่นให้ คนใจดีที่ตำบลโพนทอง อาจเป็นตัวอย่างเล็กๆ ในแง่มุมของน้ำใจที่ไม่ได้เล็กน้อยแต่อย่างใด
อ่านต่อ...
video
Healthy Land ตอนที่ 3 คนดอนแร่กับการเลี้ยงหมูธรรมชาติ
การเลี้ยงหมูธรรมชาติ (หมูหลุม) ในตำบลดอนแร่ เป็นการใช้จุลินทรีย์ท้องถิ่นมาเป็นตัวช่วยในการนำเลี้ยง เป็นหนึ่งในรูปแบบวิถีอาชีพซึ่งไม่คำนึงถึงแต่ผลผลิต แต่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศน์ด้านการเกษตร รวมถึงการพึ่งพาตนเอง
อ่านต่อ...
  • 1
  • 2
  • ›
  • »

หนังสือเด่นประจำสัปดาห์

คู่มือประจำวัย รับมือยังไงกับวัย18
การรับมือของผู้ใหญ่ ที่จะรับมือกับวัยรุ่นในวัย 18 ปี หรือ generation z ที่เป็นช่วงวัยในการเปลี่ยนแปลงลองผิดลองถูกและเกิดกระบวนการเรียนรู้ที่สำคัญ...
อ่านต่อ »

สมัครสมาชิก ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ

เลือกดูรายการ

  • หนังสือ
  • วารสาร
  • รูปภาพ
  • เว็บไซต์
  • วิดีโอ
  • เสียง
  • ชุดความรู้

หมวดหมู่

สุรา
ยาสูบ
อุบัติเหตุ
การออกกำลังกาย
โรคภัยไข้เจ็บ
อาหารการกิน
สุขภาพจิต
ระบบสาธารณสุข
สุขภาพร่างกาย
สภาพแวดล้อม
สุขภาวะเด็กและเยาวชน
สุขภาวะครอบครัว
สุขภาวะคนวัยทำงาน
สุขภาวะผู้สูงวัย
สุขภาวะชุมชนและสังคม
อื่นๆ

บริการ

  • ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ
  • บริการยืม - คืน
  • บริการคอมพิวเตอร์สำหรับสืบค้น พร้อมอินเตอร์เน็ตและสัญญาณ WIFI
  • บริการพื้นที่นั่งทำงาน อ่านหนังสือ
  • บริการช่วยค้นคว้า​
  • บริการชุดกระเป๋าความรู้สุขภาวะ
  • บริการออนไลน์
  • บริการเผยแพร่สื่อของ สสส.

ข้อมูลเพิ่มเติม

ชุดนิทรรศการ

knowledges
" sex วัยรุ่นเลือกได้ "
สื่อการเรียนรู้ เพื่อเข้าถึงกลุ่มเยาวชน และเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยเปลี่ยนห้องเรียน ให้กลายเป็นนิทรรศการเพศศึกษาที่สนุกสนานถูกใจผู้เรียน และผู้สอน โดยสามารถช่วยกันออกแบบบทเรียนตามประเด็นปัญหา และบริบทของการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
more

เมนูหลัก

  • หน้าแรก
  • บทความ / งานวิจัย
  • ชุดความรู้ / ชุดนิทรรศการ
  • สื่อ
  • บริการ
  • เกี่ยวกับเรา

ติดต่อเรา

Resource Center

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ห้องสร้างปัญญา อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
เลขที่ 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120


โทรศัพท์ : 02-343-1500 กด 3 | โทรสาร : 02-343-1501
อีเมล : resource.thc@thaihealth.or.th

Creative Commons License งานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผู้สร้าง อนุญาตให้ทำซ้ำ แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่ง ของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีที่ให้เครดิต ผู้สร้าง ไม่นำไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เท่านั้น
Syndicate content